ข่าวและบทความ

การเตรียมตัวก่อนเข้ารับการฟอกเลือดมีอะไรบ้าง มาดูกันเลย

ข้อปฎิบัติตัวสำหรับผู้ป่วยระยะหลังผ่าตัด ที่ทําการตัดต่อเส้นเลือดที่แขนทั้งชนิดเส้นเลือดจริง (AVF)และเส้นเลือดเทียม (AVG)

วิธีการรักษาโรคไตที่มีประสิทธิภาพดีทีสุดก็คือการปลูกถ่ายไต ให้ผู้ป่วยดำรงชีวิตต่อไปด้วยไตใหม่ที่สามารถทำงานได้เป็นปกติ โดยไตใหม่ที่ได้รับมานั้นเป็นไตของผู้อื่น ซึ่งบางครั้งอาจทำให้เกิดการต่อต้านของร่างกายได้ถ้ารับประทานยากดภูมิไม่สม่ำเสมอ ขึ้นอยู่กับร่างกายของผู้ป่วยแต่ละราย

อาการแบบไหน บ่งบอกว่าคุณกำลังเสี่ยงเป็นโรคไต

เคยสงสัยไหมคะว่า..ทำไมเป็นเบาหวานนาน ๆ แล้วถึงเป็นโรคไต ?

ทำไมความดันจึงตกขณะฟอกไต? สาเหตุเกิดจาก....... การดึงน้ำออกมาเกินไปหรือเร็วเกินไป กินยาลดความดันก่อนล้างไต กินอาหารก่อนหรือระหว่างการล้างไต

ฟอสเฟตสูง หมายความว่ายังไง ?ฟอสฟอรัส หรือ ฟอสเฟต” เป็นแร่ธาตุชนิดหนึ่ง ทำหน้าที่ช่วยสร้างกระดูก และช่วยในการเจริญเติบโตของร่างกาย ดังนั้น ปริมาณฟอสฟอรัสจึงมีผลกับกระดูกโดยตรง และที่สำคัญมักเจอได้ในอาหารเกือบทุกอย่าง (ที่อร่อย ๆ) โดยเฉพาะพวกนม ธัญพืช ทุกชนิด ช็อคโกแลต ขนมขบเคี้ยว ไข่แดง เป็นต้น คำว่า ฟอสเฟตสูงหรือต่ำ เราสามารถดูได้จากใบผลเลือด (จะอยู่ในหมวดเกลือแร่ ชื่อว่า Phosphorus หรือตัวย่อ P) ซึ่งถ้าใครที่ค่า สูงเกิน 5.5 mg./dL. ขึ้นไป ก็จะถือว่าสูง จำเป็นต้องควบคุมอาหารประเภทฟอสฟอรัสให้เข้มขึ้น เพื่อให้ค่ากลับมาอยู่ในเกณฑ์

สมุนไพรอะไรบ้าง? ที่ห้ามกินสำหรับคนเป็นโรคไต

ดื่มกาแฟเท่าไหร่ ถึงปลอดภัยในผู้ป่วย โรคไต

สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติผู้ป่วยในไม่ต้องใช้ใบส่งตัว (IP Anywhere) เพื่อผู้ป่วยสิทธิบัตรทองหรือบัตร 30 บาท

ไซยาไนด์ คืออะไร? ลักษณะทางกายภาพ ไฮโดรเจนไซยาไนด์ ถ้าเป็นของเหลว จะเป็นของเหลวใส ระเหยเป็นแก๊สได้ง่าย ที่อุณหภูมิห้อง มีกลิ่นเฉพาะตัวเรียกว่ากลิ่นอัลมอนด์ขม (Bitter almond) เมื่อกลายเป็นแก๊ส จะเป็น แก๊สไม่มีสี มีกลิ่นอัลมอนด์ขมเช่นกัน สำหรับโซเดียมไซยาไนด์และโพแทสเซียมไซยาไนด์ เป็นของแข็ง มีลักษณะเป็นเกร็ดสีขาว มีกลิ่นอัลมอนด์ขมอ่อน ๆ คำอธิบาย ไซยาไนด์ (Cyanides) เป็นกลุ่มของสารเคมีที่มีไซยาไนด์ไอออน (CN-) เป็นองค์ประกอบ สารเคมีกลุ่มนี้มีความเป็นพิษสูงมาก

โรคลมแดด หรือ ฮีทสโตรก “ ภัยร้ายช่วงหน้าร้อน“โรคลมแดด” หรือ “ฮีทสโตรก” (Heatstroke )คือ โรคอันตรายที่พบได้บ่อยในช่วงหน้าร้อน

สัญญาณบอกโรคไต รู้ก่อนรักษาก่อน โรคไตยังคงเป็นโรคร้ายที่อยู่ใกล้ตัวที่ต้องเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด เนื่องจากสาเหตุสำคัญของโรคเกิดขึ้นจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารของตนเอง ในส่วนของการเฝ้าระวังยังมีสัญญาณบางอย่างที่บอกได้ว่าไตเริ่มมีปัญหา เพื่อสังเกตตัวเองและทำการรักษาได้ทัน

บริษัท เค.พี.เอส.การแพทย์ จำกัด ได้จัด อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน(CPR) บรรยายโดย วิทยากรจากโรงพยาบาลกรุงเทพ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ 2566 ณ โรงแรมไอบิส กรุงเทพ ริเวอร์ไซด์

หลักการจัดอาหารให้ผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม มีดังนี้ พลังงาน : ควรได้พลังงานเพียงพอหรือเกินพอเล็กน้อย เพื่อป้องกันภาวะทุพโภชนาการ และรักษาน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน หากผู้ป่วยได้รับพลังงานไม่เพียงพอจะเกิดการสลายโปรตีนเป็นพลังงาน (Protein catabolism) มากขึ้น ทำให้ค่า BUN สูงขึ้น Body mass ลดลงและสมดุล

การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมและการล้างไตทางช่องท้องมีข้อดีข้อเสียแตกต่างกันอย่างไร?

วิธีขอรับสิทธิ์รักษาโรคไต ประกันสังคม หากผู้ประกันตนต้องการรับบำบัดทดแทนไต จะต้องทำการยื่นขอรับการอนุมัติก่อน ได้ที่สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่/จังหวัด/สาขา โดยเตรียมเอกสารประกอบ 7 ข้อ

กรวยไตอักเสบ มีสาเหตุจากการติดเชื้อ โดยเชื้อโรคมักจะลุกลามขึ้นมาจากกระเพาะปัสสาวะ กล่าวคือ เชื้อโรคบริเวณผิวหนังรอบๆ ท่อปัสสาวะ (ที่อาจแปดเปื้อนอุจจาระ) จะแพร่กระจายเข้าท่อปัสสาวะ ซึ่งอาจทำให้เกิดโรคกระเพาะอักเสบ (มีอาการขัดเบา) ถ้าเชื้อลุกลามขึ้นไปตามท่อไตจนเข้าไปถึงบริเวณกรวยไตก็ทำให้เกิดโรคกรวยไตอักเสบได้

สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย ออกแถลงการณ์ไม่สนับสนุนผู้ป่วยโรคไตกินถั่งเช่า ชี้ไม่มีข้อพิสูจน์วิทยาศาสตร์การแพทย์ยืนยันผลลัพธ์การรักษา ผลิตภัณฑ์บางส่วนมีโลหะหนัก Arsenic สูง เสี่ยงผลเสียต่อไตระยะยาว

ภาวะน้ำท่วมปอด เมื่อไตไม่สามารถทำหน้าที่เคลียน้ำและของเสียออกจากร่างกายได้อีกต่อไป น้ำนี้ก็จะค่อยๆ ซึมเข้าไปขังอยู่ในปอด จนในที่สุดก็เกิดภาวะน้ำท่วมปอด สังเกตได้ว่าผู้ป่วยจะมีอาการเหนื่อยหอบ หายใจเหนื่อย และร่างกายก็จะเริ่มบวมน้ำจนเห็นได้ชัด

ทุเรียนยังเป็นผลไม้ที่มีโพแทสเซียมสูง ผู้ป่วยโรคไตไม่สามารถขับโพแทสเซียมส่วนเกินได้เท่าคนปกติ ผู้ป่วยโรคไต จึงควรเลี่ยงเพราะจะส่งผลให้เกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ และยังต้องระมัดระวังในการกินทุเรียนแปรรูป

ภาวะแทรกซ้อนของโรคไตวาย ไตวายเป็นอีกภาวะหนึ่งที่สามารถเกิดอาการแทรกซ้อนได้ ซึ่งอาการอาจรุนแรงจนถึงขั้นเสียชีวิต โดยอาการแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยแบ่งตามชนิดของไตวาย

โควิด-19 เป็นโรคติดเชื้อเฉียบพลันในระบบทางเดินหายใจ ผู้ป่วยสีเขียว ซึ่งมีอาการเล็กน้อยหรือไม่มีอาการสามารถหายได้เอง โดยรักษาตามอาการเท่านั้น ผู้ป่วยสีเหลือง ซึ่งมีอาการปานกลางหรือมีความเสี่ยงต่ออาการรุนแรงจะได้รับยาต้านไวรัสเป็นเวลา 5-10 วัน ส่วนผู้ป่วยสีแดง ซึ่งมีอาการรุนแรงจะอยู่ในความดูแลของแพทย์จนอาการดีขึ้น

คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยที่มารับบริการฟอกเลือดในศูนย์ไตเทียม เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สามารถแพร่จากคนสู่คนได้ในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการ ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม มีความเสี่ยงที่จะเกิดอาการรุนแรงจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ผู้ป่วยที่ได้รับการฟอก เลือดจึงต้องลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ โดยปฏิบัติอย่างเคร่งครัด

การบริโภคโซเดียมสูงที่ส่งผลต่อผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม และมาทำความรู้จักกับอาหารหรือผลิตภัณฑ์ที่มีโซเดียมมาก

ภาวะไตวายเรื้อรังสามารถป้องกันได้อย่างไร? คำแนะนำบางประการในการป้องกันหรือลดการลุกลามของภาวะไตวายมีดังนี้

นพ.จเด็จ ธรรมธัชอารี เลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) กล่าวว่า จากการประชุมคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (บอร์ด สปสช.) ครั้งที่ 1/2565 เมื่อวันที่ 6 ม.ค.65 ได้มีมติเห็นชอบข้อเสนอการช่วยเหลือค่าบริการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมแก่ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ไม่สมัครใจรับบริการล้างไตผ่านทางช่องท้อง และเตรียมเริ่มดำเนินการตั้งแต่วันที่ 1 ก.พ.65 เป็นต้นไป

แบบเสนอรายชื่อผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย เพื่อพิจารณาขอใช้วิธีการรักษาบำบัดทดแทนไตด้วยการฟอกเลือดเครื่องไตเทียมถาวร

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้